เรื่อง การจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล
เรื่อง กำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอพรเจริญ
สภาพทั่วไป
. ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
1.1 ที่ตั้งและเขตการปกครอง
1.1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต
องค์การบริหารส่วนตำบลวังชมภู ได้รับการจัดตั้งตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ ห่างจากที่ว่าการอำเภอพรเจริญ ประมาณ 6 กิโลเมตร
. ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
1.1 ที่ตั้งและเขตการปกครอง
1.1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต
องค์การบริหารส่วนตำบลวังชมภู ได้รับการจัดตั้งตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ ห่างจากที่ว่าการอำเภอพรเจริญ ประมาณ 6 กิโลเมตร
พื้นที่ตำบลวังชมภู มีเนื้อที่ประมาณ 50.50 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 31,562.99 ไร่ โดยมีอาณาเขต ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลพรเจริญ อำเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ
ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลโนนสะอาด อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลท่าสะอาด อำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลศรีชมภู อำเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ
1.1.2 การปกครอง
ตำบลวังชมภู แบ่งการปกครองออกเป็น 8 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ |
ชื่อบ้าน |
จำนวน หลังคาเรือน |
จำนวนประชากร |
||
ชาย |
หญิง |
รวม |
|||
1 |
บ้านวังยาว |
234 |
401 |
421 |
822 |
2 |
บ้านโคกนิยม |
176 |
334 |
341 |
675 |
3 |
บ้านสร้างคำ |
174 |
336 |
336 |
672 |
4 |
บ้านโนนสวาท |
285 |
510 |
523 |
1,033 |
5 |
บ้านพูนผล |
141 |
258 |
252 |
510 |
6 |
บ้านบุ่งคล้า |
69 |
138 |
105 |
235 |
7 |
บ้านเกษตรรุ่งเรือง |
94 |
121 |
119 |
240 |
8 |
บ้านวังชมภู |
129 |
258 |
209 |
467 |
รวม |
1,302 |
2,356 |
2,306 |
4,662 |
หมายเหตุ : รายงานสถิติประชากร ระดับตำบล ของตำบลวังชมภู(ข้อมูลของ ประจำปี พ.ศ. 2561)
1.2 สภาพทางกายภาพ
1.2.1 ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของตำบลวังชมภู มีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบ และที่ราบลุ่ม พื้นที่บางส่วนเป็นเขตที่ลุ่มในเขตลำน้ำสงคราม
1.2.2 ลักษณะภูมิอากาศ
ภูมิอากาศของตำบลวังชมภู จัดอยู่ในประเภทอากาศแบบฝนเมืองร้อน ในฤดูฝนจะมีอากาศชุ่มชื้นและมีฝนตกชุกตลอดฤดู แต่ในฤดูหนาวจะมีอากาศหนาวจัดและมีหมอกหนาในตอนเช้า ส่วนในฤดูร้อนอากาศจะร้อนจัดและแห้งแล้ง
1.2.3 ลักษณะทางธรรมชาติ
- ดิน
ดินในพื้นที่ของตำบลวังชมภู เป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ดินส่วนใหญ่เป็นดินปนทรายซึ่งมีโครงสร้างไม่คงทน เมื่อมีฝนตกทำให้เกิดการกัดกร่อนของผิวดินสูง เป็นเหตุให้ดินถูกน้ำชะล้างสารอาหารและสิ่งที่มีประโยชน์ต่อพืชไปหมด การปรับปรุงดินทำได้ค่อนข้างยากเพราะการใส่ปุ๋ยเพียงอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ จะต้องดูและเรื่องการชลประทาน และการจัดการบำรุงรักษาดินไปพร้อมๆ กันด้วย
การใช้ประโยชน์จากดินในพื้นที่ของตำบลวังชมภู จะใช้ในการทำการเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำไร่ และการปศุสัตว์ ส่วนที่เหลือใช้เป็นที่อยู่อาศัย และเป็นที่รกร้างว่างเปล่า
- น้ำ
ตำบลวังชมภูนอกจากอาศัยน้ำฝนในการอุปโภคบริโภคและใช้ในการทำการเกษตรกรรมแล้วยังมีแหล่งน้ำที่สำคัญ คือ
- ลำน้ำ /สายน้ำ จำนวน 5 สาย
(1) ห้วยส้มโฮง (4) ห้วยไฮหย่อง
(2) ห้วยหมากบ้า (5) ลำน้ำสงคราม
(3) ห้วยสาน
- บึง /หนอง จำนวน 6 แห่ง
(1) หนองส้มโฮง (5) หนองหล่ม
(2) หนองกะซะ (6) หนองผือ
(3) หนองแปน (4) หนองเปือย
- แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
(1) ฝาย 11 แห่ง
(2) บ่อน้ำตื่น 20 แห่ง
(3) บ่อน้ำบาดาล 38 แห่ง
- สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จำนวน 1 แห่ง คือ
สถานีสูบน้ำด้วยพลังงานไฟฟ้าบ้านวังยาว ตำบลวังชมภู มีพื้นที่รับน้ำ 1,500 ไร่ ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 บ้านวังชมภู
1.3 สภาพทางการเมือง
1.3.1 ประชากร
จำนวนประชากรของตำบลวังชมภู รวมทั้งสิ้น 4,484 คน แยกเป็น
ชาย 2,280 คน หญิง 2,204 คน จำนวน ครัวเรือน 1,173 ครัวเรือน
1.3.2 การเลือกตั้ง
- ตำบลวังชมภู มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.)ที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2556
1.4 สภาพทางเศรษฐกิจ
1.4.1 รายได้ของประชากร
- ตำบลวังชมภู มีรายได้ของประชากรเฉลี่ย 49,922 บาท ต่อคน/ปี
1.4.2 การประกอบอาชีพ
- เกษตรกรรม เป็นอาชีพหลักของประชาชนในพื้นที่ของตำบลวังชมภู คือ การทำนา ทำไร่ ปลูกผักชนิดต่างๆ ส่วนใหญ่อยู่ตามบริเวณที่ราบลุ่ม และริมแม่น้ำสงคราม ซึ่งจะทำการเพาะปลูกทั้งข้าวเหนียวและข้าวจ้าว
- ปศุสัตว์เป็นอาชีพรองของประชาการในพื้นที่ตำบลวังชมภู เช่น โคกระบือ ไก่ สุกร เป็ด และสัตว์อื่น ๆ
- ประมงแบบพื้นบ้านตามลำน้ำ
- ทำไร่ เช่น ทำไร่มันสำปะหลัง นอกจากนี้เริ่มมีการปลูกไม้เศรษฐกิจมากขึ้น เช่น การปลูกยางพารา การปลูกยูคาลิปตัส
- ค้าขาย การค้าขายส่วนใหญ่จะค้าขายของชำ สินค้าทางการเกษตร
- ประชาชนในตำบลวังชมภู บางส่วนจะอพยพไปทำงานรับจ้างยังต่างถิ่น เช่น กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
1.4.3 แหล่งเงินทุน สถาบันการเงิน สหกรณ์และการรวมกลุ่มอาชีพ
- แหล่งเงินทุน
(1) กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
(2) เงินแก้ไขปัญหาความยากจน (กขคจ.)
(3) เงินเศรษฐกิจชุมชน หมู่บ้านๆ ละ 100,000 บาท
- สถาบันการเงิน
(1) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.) สาขาพรเจริญ
(2) ธนาคารออมสินสาขาพรเจริญ
- การรวมกลุ่มอาชีพต่างๆ
ตำบลวังชมภูมีการรวมกลุ่มอาชีพต่างๆ ดังนี้
ลำดับ ที่ |
ชื่อกลุ่ม |
จำนวนสมาชิก (คน) |
จำนวนเงินทุน (บาท) |
ชื่อที่ตั้งของกลุ่ม |
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 |
กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านโนนสวาท กลุ่มแม่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเกษตรพอเพียง 2549 กลุ่มปลูกเห็ด กลุ่มทำนา 1 ไร่ ได้ 1 แสน กลุ่มเลี้ยงปลาในบ่อดิน กลุ่มเกษตรผสมผสาน กลุ่มเลี้ยงปลาในบ่ดิน กลุ่มผู้เลี้ยงโค กลุ่มเลี้ยงสุกรบ้านสร้างคำ กลุ่มเลี้ยงปลาในบ่อ กลุ่มผู้เลี้ยงวัว กลุ่มผู้เลี้ยงกบ กลุ่มผู้เลี้ยงโค-กระบือ 2 กลุ่มผู้เลี้ยงโค กลุ่มผู้เลี้ยงหมูขุน กลุ่มผู้เลี้ยงโค-กระบือ กลุ่มพลังพัฒนาอาชีพ กลุ่มเลี้ยงปลาในบ่อ กลุ่มผู้ใช้น้ำเพื่อการเกษตร |
- - 6 10 5 6 6 5 10 10 11 10 5 10 15 5 15 66 16 36 |
- - 40,000 48,000 40,000 40,000 40,000 50,000 100,000 100,000 50,000 100,000 50,000 100,000 100,000 28,000 100,000 100,000 50,000 - |
หมู่ที่ 4 บ้านโนนสวาทหมู่ที่ 2 บ้านโคกนิยม หมู่ที่ 1 บ้านวังยาว หมู่ที่ 1 บ้านวังยาว หมู่ที่ 1 บ้านวังยาว หมู่ที่ 1 บ้านวังยาว หมู่ที่ 1 บ้านวังยาว หมู่ที่ 2 บ้านโคกนิยม หมู่ที่ 2 บ้านโคกนิยมหมู่ที่ 3 บ้านสร้างคำ หมู่ที่ 3 บ้านสร้างคำ หมู่ที่ 4 บ้านโนนสวาท หมู่ที่ 5 บ้านพูนผล หมู่ที่ 5 บ้านพูนผล หมู่ที่ 6 บ้านสร้างคำ หมู่ที่ 7 บ้านเกษตรรุ่งเรือง หมู่ที่ 7 บ้านเกษตรรุ่งเรือง หมู่ที่ 8 บ้านวังชมภู หมู่ที่ 8 บ้านวังชมภู หมู่ที่ 8 บ้านวังชมภู |
1.4.4 การคมนาคม และสาธารณูปการต่าง ๆ
- ถนน
ตำบลวังชมภูมีถนนสายสำคัญๆ ดังนี้
(1) ถนนลาดยางสายข้างโรงพยาบาลพรเจริญ-บ้านวังยาว
(2) ถนนลูกรังสายดงเสียด-วังยาว
(3) ถนนลาดยางสายนาเต่า-วังยาว
- น้ำประปา
ตำบลวังชมภู มีระบบน้ำประปาหมู่บ้าน มีจำนวนทั้งหมด 8 แห่ง
- การไฟฟ้า
ครอบคลุมทั้ง 8 หมู่บ้าน จำนวน 1,173 ครัวเรือน
1.4.5 การพาณิชย์ และการบริการ
ตำบลวังชมภู มีปั๊มน้ำมันหลอดให้บริการแก่ประชาชน จำนวน 5 แห่ง
1.4.6 การอุตสาหกรรมและหัตถกรรม
-
1.5 สภาพสังคม
1.5.1 การศึกษา
- สถานศึกษา จำนวน 3 แห่ง ดังนี้
1. โรงเรียนบ้านวังยาว ที่ตั้งหมู่ 1 บ้านวังยาว
2. โรงเรียนบ้านสร้างคำ ที่ตั้งหมู่ 3 บ้านสร้างคำ
3. โรงเรียนบ้านโคกนิยม ที่ตั้งหมู่ 2 บ้านโคกนิยม
- โรงเรียนมัธยมศึกษา(ขยายโอกาส) จำนวน 1 แห่ง ดังนี้
โรงเรียนขยายโอกาสบ้านวังยาว
- ศูนย์การเรียนชุมชน(ศรช.) จำนวน 1 แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 แห่ง
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.วังชมภู ที่ตั้งหมู่ 8 บ้านวังชมภู
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดป่าสุวรรณาราม ที่ตั้งหมู่ 3 บ้านสร้างคำ
3. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดปุริมาประดิษฐ์ ที่ตั้งหมู่ 2 บ้านโคกนิยม
1.5.2 ศาสนา
ประชาชนในพื้นที่ตำบลวังชมภู ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีสถาบันทางศาสนา ดังนี้
วัด /ที่พักสงฆ์ จำนวน 9 แห่ง
ลำดับที่ |
ชื่อวัด / ที่พักสงฆ์ |
สถานที่ตั้ง |
1 |
วัดสุทธาวิลัย |
หมู่ที่ 1 บ้านวังยาว |
2 |
วัดปุริมาประดิษฐ์ |
หมู่ที่ 2 บ้านโคกนิยม |
3 |
วัดป่าสุวรรณาราม |
หมู่ที่ 3 บ้านสร้างคำ |
4 |
วัดอุทิศวราราม |
หมู่ที่ 4 บ้านโนนสวาท |
5 |
วัดป่าอินทร์เขียน |
หมู่ที่ 5 บ้านพูนผล |
6 |
วัดรัตนประสิทธิ์ |
หมู่ที่ 6 บ้านบุ่งคล้า |
7 |
วัดรุ่งเรืองสุวัณราม |
หมู่ที่ 7 บ้านเกษตรรุ่งเรือง |
8 |
วัดมงคลสัจธรรม |
หมู่ที่ 8 บ้านวังชมภู |
9 |
วัดดอนขนุนทอง |
หมู่ที่ 5 บ้านพูนผล |
1.5.3 ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม
ในตำบลวังชมภู มีขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ที่สำคัญและจัดขึ้นในโอกาสต่างๆ ดังนี้
- งานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา
- งานบุญมหาชาติ
- ประเพณีลอยกระทง
- ประเพณีสงกรานต์
- งานทำบุญตักบาตรวันขึ้นปีใหม่
- งานะเพณีทอดกฐิน
ฯ ล ฯ
1.5.4 การสาธารณสุข
- สถานบริการสาธารณสุข จำนวน 1 แห่ง คือ
สถานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังชมภู ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 บ้านวังชมภู
1.5.4 การรักษาความสงบเรียบร้อย
- ลูกเสือชาวบ้านเฉลิมพระเกียรติฯ จำนวน 400 คน
- อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนประจำตำบล จำนวน 85 คน
2. ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลวังชมภู
2.1 บุคลาการ
- คณะผู้บริหาร จำนวน 4 คน
- สมาชิกสภา อบต. จำนวน 16 คน
- พนักงานส่วนตำบล จำนวน 11 คน
- พนักงานจ้างทั่วไป จำนวน 4 คน
- ครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน 5 คน
- ครูผู้ช่วย จำนวน 3 คน
2.2 ระดับการศึกษาของบุคลาการ
- ประถมศึกษา จำนวน 1 คน
- มัฐยมศึกษา / อาชีวศึกษา จำนวน 13 คน
- ปริญญาตรี จำนวน 20 คน
- สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 1 คน
2.3 รายรับ/รายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบลวังชมภู
รายรับ
รายรับ |
รับจริง ปี 2555 |
ประมาณการ ปี 2556 |
ประมาณการ ปี 2557 |
รายได้จัดเก็บ หมวดภาษีอากร หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต หมวดรายได้จากทรัพย์สิน หมวดรายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์ หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด หมวดรายได้จากทุน |
98,225.64 93,631.20 107,540.65 1,920.00 37,350.80 0.00 |
102,000.00 131,000.00 120,000.00 500.00 46,500.00 0.00 |
95,000.00 105,000.00 100,000.00 5,000.00 33,700.00 5,000.00 |
รวมรายได้ที่จัดเก็บ |
338,668.29 |
400,000.00 |
343,700.00 |
รายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บให้องค์กรปกครองส่วนส่วนท้องถิ่น หมวดภาษีจัดสรร รวมรายได้ที่รัฐบาลเก็บแล้วจัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายได้ที่รัฐบาลอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป รวมรายได้ที่รัฐบาลอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
9,586,582.30
9,586,582.30
5,677,258.45 5,677,258.45 |
9,829,460.00
9,829,460.00
6,624,380.00 6,624,380.00 |
10,849,540.00
10,849,540.00
7,236,760.00 7,236,760.00 |
รวม |
15,602,509.04 |
16,853,840.00 |
18,500,000.00 |
รายจ่าย
งบ |
รายจ่ายจริง ปี 2554 |
ประมาณการ ปี 2555 |
ประมาณการ ปี 2556 |
รายจ่ายจากงบประมาณ 1. งบกลาง 2. งบบุคลากร (หมวดเงินเดือน ค่าจ้างประจำ และค่าจ้างชั่วคราว) 3. งบดำเนินงาน (หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยวัสดุ และวัสดุ และหมวดค่าสาธารณูปโภค) 4. งบลงทุน (หมวดค่าครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง) 5. งบรายจ่ายอื่น (หมวดรายจ่ายอื่น) 6. งบเงินอุดหนุน (หมวดเงินอุดหนุน) |
447,085.00
4,875,620.00
3,857,965.08 1,896,615.00 8,000.00 2,180,987.76 |
532,000.00
6,894,580.00
4,771,760.00 2,808,100.00 15,000.00 1,832,400.00 |
572,100.00
6,604,160.00
6,191,240.00 2,835,500.00 15,000.00 2,282,000.00 |
รายจ่ายจากงบประมาณ |
13,266,272.84 |
16,853,840.00 |
18,500,000.00 |
องค์การบริหารส่วนตำบลวังชมภู อ.พรเจริญ จ.บึงกาฬ เป็นเมืองน่าอยู่ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสงคราม และส่วนป่าโคกบะฮี ซึ่งมีธรรมชาติ อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธ์ต่างๆ พืชสวน ไร่นา ห่างจาก จังหวัดบึงกาฬ 49 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานคร 693 กิโลเมตร มีเส้นทางคมนาคมที่สะดวก